Monthly Archives: January 2022

อาเมิน

เพอร์ซิอัส (อังกฤษ: Perseus; กรีก: Περσεύς) เป็นบุคคลในตำนานเทพปกรณัมกรีก เป็นบุตรของเทพซูสกับหญิงชาวมนุษย์ชื่อ นางแดนาอี ตามตำนานกรีกเพอร์ซิอัสเป็นผู้ก่อตั้งแคว้นไมซีนี และเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์เพอร์เซอิด เขาเป็นวีรบุรุษคนแรกในปกรณัมกรีกที่มีชื่อเสียงจากการปราบสัตว์ประหลาดโบราณมากมาย ในยุครุ่งเรืองเทพโอลิมปัสทั้ง 12 องค์ ชาวกรีกเชื่อกันว่าเพอร์ซิอัสเป็นผู้ก่อตั้งเมืองไมซีนีขึ้น ณ จุดที่ได้สังหารอะคริซิอัส พระเจ้าตาของตนโดยอุบัติเหตุ นอกจากนี้เพอร์ซิอัสยังเป็นผู้สังหารเมดูซาและเป็นผู้ช่วยเหลือเจ้าหญิงแอนดรอมิดาจากเคตัส (Cetus) ปีศาจทะเลซึ่งถูกส่งมาโดยเทพโปเซดอน เพื่อทำลายเอธิโอเปีย ชื่อของเพอร์ซิอัสยังขาดข้อสรุปทางนิรุกติศาสตร์ที่ชัดเจน ทำให้มีข้อสันนิษฐานว่าอาจจะเป็นชื่อโบราณก่อนภาษากรีกจะเข้ามา แต่ก็มีผู้สันนิษฐานว่าอาจจะมีรากมาจากคำกริยากรีกว่า “πέρθειν” (perthein) แปลว่า ปล้นสะดม หรือ เข้าตีเมืองแอนดรอมิดา (อังกฤษ: Andromeda) เป็นนางในตำนานเทพปกรณัมกรีกผู้ซึ่งถูกตรึงโซ่ไว้กับหินเพื่อเป็นเครื่องสังเวยแก่สัตว์ประหลาดแห่งท้องทะเลและได้รับการช่วยเหลือโดยวีรบุรุษเพอร์ซิอัส (Perseus) ผู้ซึ่งนางได้สมรสด้วยในภายหลังตามตำนานของกรีกนั้นเจ้าหญิงแอนดรอมิดาเป็นธิดาของกษัตริย์ซีฟิอัส (Cepheus) กับราชินีแคสซิโอเปีย (Cassiopeia) แห่งอาณาจักรเอธิโอเปีย … Continue reading

Posted in Joker | Tagged , | Comments Off on อาเมิน

อามาเตราซุ

เอมานูเอล อาเลคันโดร โรดรีเกซ (Emanuel Alejandro Rodriguez 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1987) เป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกันเชื้อสายเม็กซิกัน แม้ว่าจะเกิดในสหรัฐอเมริกา, เขาใช้เวลาห้าปีแรกในการใช้ชีวิตที่เม็กซิโกซิตี ปัจจุบันเซ็นสัญญากับWWEในนาม คาลิสโต (Kalisto) ในปี 2006 เขาเริ่มปล้ำในสมาคมอิสระแถบมิดเวสต์ของสหรัฐภายใต้หน้ากากและชื่อบนสังเวียน ซามูเรย์ เดล โซล (อังกฤษ: Samuray del Sol; สเปน: Samurai of the Sun; ไทย: ซามูไรแห่งดวงอาทิตย์) หลังจากที่กลายเป็นหนึ่งในสายบินชั้นแนวหน้า เขาเริ่มทำงานกับสมาคมใหญ่ในปี 2011 และได้เซ็นสัญญากับ Dragon Gate USA … Continue reading

Posted in Joker | Tagged , | Comments Off on อามาเตราซุ

ฟาโรห์แรเมซีสที่ 2

เทพีอัสทราเอีย (อังกฤษ: Astraea) เป็นเทพีในตำนานเทพปกรณัมกรีกที่ได้รับการบรรยายว่าเป็นเทพีแห่งความยุติธรรม เทพีที่รักความสงบ เป็นบุตรีของซูสและเธมิส ทำให้รู้จักกันในเรื่องของพรหมจรรย์และความไร้เดียงสา จนเชื่อมโยงไปถึงความยุติธรรมและความสงบสุขของมนุษย์ อัสทราเอียเป็นหญิงพรหมจารีที่ลงมาจากสวรรค์ พร้อมน้องสาวชื่อว่า พูดิซิเตรีย ทั้งคู่ไร้เดียงสา ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ เธอปรารถนาให้โลกร่มเย็น ไม่เบียดเบียนกันและกัน แต่มนุษย์กลับรบราฆ่าฟันกัน ขโมยข้าวของ กดขี่ข่มเหง น้องสาวของเธอทนไม่ไหว จึงกลับสู่สวรรค์ แต่เธอยังเชื่อว่าความยุติธรรมบนโลกยังไม่สูญหายไป เธอทนไม่ได้จึงหนีเข้าไปอยู่ในป่ากับผู้ติดตามไปจำนวนหนึ่ง จนในที่สุด ต้องหนีกลับสวรรค์ เมื่อเข้าสู่ยุคทองแดง ความยุติธรรมหมดลงบนโลกมนุษย์ เธอจึงบดรวงข้าว แล้วหว่านเมล็ดข้าว ไปรอบฟ้า กลายเป็นทางช้างเผือกที่สวยงาม ร่มเย็น และสันติสุข โดยจะปรากฏให้เห็นเฉพาะ คนที่รักและใฝ่หาสันติภาพ กับความยุติธรรมเท่านั้น และเพื่อเป็นเครื่องเตือนสติ บางตำนานอียิปส์กล่าวถึงเทพีไอซิส(Isis)ที่เจอปีศาจพายุไต้ฝุ่นตามรังควาญ เธอจึงใช้เมล็ดรวงข้าว โปยใส่ปีศาจ จึงกลายเป็นกลุ่มดาวหญิงสาว … Continue reading

Posted in Joker | Tagged , | Comments Off on ฟาโรห์แรเมซีสที่ 2

อาเทน

ในเทพปกรณัมกรีก เพอร์เซโฟเน่ (อังกฤษ: Persephone /pərˈsɛfəniː/; กรีก: Περσεφόνη) หรือเรียก คอรี (อังกฤษ: Kore /ˈkɔəriː/; “หญิงโสด”) เป็นพระธิดาของซูส และเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว ดีมิเทอร์ และราชินีแห่งโลกหลังความตาย โฮเมอร์อธิบายว่าพระองค์เป็นราชินีแห่งโลกหลังความตายผู้น่าเกรงขามและน่าเคารพนับถือ ผู้บันดาลให้คำสาปของมนุษย์บังเกิดผลต่อวิญญาณของผู้วายชนม์ เพอร์เซฟะนีถูกเฮดีส ราชาแห่งโลกบาดาล ลักพาตัว ตำนานการลักพาของพระองค์เป็นการแสดงว่าหน้าที่ของพระองค์เป็นบุคคลวัตของพืชพรรณซึ่งงอกในฤดูใบไม้ผลิและถอนคืนสู่พิภพหลังเก็บเกี่ยว ฉะนั้นพระองค์จึงยังสัมพันธ์กับฤดูใบไม้ผลิและความอุดมสมบูรณ์ของพืชพรรณเฮดีส หรือ ฮาเดส (อังกฤษ: Hades, /ˈheɪdiz/; กรีกโบราณ: Ἅιδης/ᾍδης, Hāidēs) เป็นเทพเจ้าแห่งนรกของกรีกโบราณ พระนามของพระองค์จึงกลายมาเป็นชื่อเรียกถิ่นของผู้ตาย วัฒนธรรมประชานิยม (อังกฤษ: popular culture หรือ pop … Continue reading

Posted in Joker | Tagged , | Comments Off on อาเทน

โมเสส

มีทิส (อังกฤษ: Metis) เป็นนางนิมฟ์ที่ดูแลซูสตั้งแต่ซูสยังเด็ก หลังจากที่พระนางเรีย ชายาของโครนัส (เทพไททัน) ได้ลักลอบนำซูสไปทิ้งไว้บนเกาะแล้วให้เหล่านิมฟ์ต่าง ๆ ช่วยกันดูแล เมื่อซูสโตขึ้น เขาก็ได้ครองรักกับมีทิส และมีทิสนี่เองคือบุคคลที่ปรุงน้ำยาสมุนไพรที่โครนัสดื่มแล้วสำรอกพี่ ๆ ของซูสออกมาจากท้อง แต่เนื่องจากหลังจากที่โครนัสพ่ายแพ้แก่ซูส เขาได้สาปแช่งก่อนจะหนีไปว่า ลูกของซูสที่เกิดจากนางมีทิสจะเป็นผู้สังหารซูส ซูสเกิดความหวาดกลัวจึงจับมีทิสกลืนลงท้อง เมื่อครบ 9 เดือน ซูสก็ปวดเศียรเป็นอย่างมาก ทันใดนั้นเทพีอะธีนาก็กำเนิดขึ้นโดยการแหกเศียรของซูสออกมา (บางตำนานว่าฮิฟีสตัส เทพแห่งการช่าง เป็นผู้ใช้อาวุธจามเศียรซูส อะทีนาจึงได้ออกมา)ตามตำนานเทพปกรณัมกรีก นิมฟ์ (nymph) คือสตรีที่เป็นร่างตัวแทนของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นร่างที่ยึดติดกับสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง หรือเป็นผู้ติดตามของเหล่าทวยเทพ ซึ่งโดยปกติแล้วมักจะตกเป็นเป้าหมายของเหล่าซาไทร์ (satyr) ตัณหาจัด วอลเตอร์ เบอร์เคิร์ต (Walter … Continue reading

Posted in Joker | Tagged , | Comments Off on โมเสส

ฟาโรห์ตุตันคาเมน

ไมอาร์ (อังกฤษ: Maiar) เป็นชื่อเรียกดวงจิตชั้นรอง ซึ่งเป็นหนึ่งในเหล่า ไอนัวร์ (Ainur) ตัวละครในจินตนิยายของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน มีกล่าวถึงอยู่มากในตำนานเรื่องซิลมาริลลิออน ชนเผ่าไอนัวร์เป็นชนเผ่าที่ถือกำเนิดมาจากพระเจ้าสูงสุดในโลกอาร์ดา คือมหาเทพอิลูวาทาร์ เป็นพวกที่ช่วยมหาเทพสร้างพิภพต่างๆ และตระเตรียมสถานที่ให้พร้อมสำหรับเหล่าบุตรแห่งอิลูวาทาร์ กล่าวคือเป็นผู้ช่วยสร้างโลกอาร์ดานั่นเอง ชาวมนุษย์มักเรียกเหล่าไอนัวร์ว่า “เทพ” เทพไมอาร์เข้ามายังโลกอาร์ดาก็เพื่อช่วยเหล่าวาลาร์ในการสร้างโลกนั่นเอง เซารอน (Sauron) เดิมเป็นเทพในสังกัดของอาวเล เป็นผู้ชำนาญในการสร้างสรรค์ ต่อมาแปรพักตร์ไปรับใช้เทพอสูรมอร์กอธ บัลร็อก (Balrog) ชื่อเรียกกลุ่มดวงจิตไมอาร์จำนวนหนึ่งซึ่งเป็นเทพแห่งไฟ เป็นผู้คอยรับใช้มอร์กอธ อธม็อก (Gothmog) เจ้าแห่งบัลร็อก เทพซึ่งเป็นหัวหน้ากลุ่มของเทพแห่งไฟ ได้รับใช้มอร์กอธอย่างห้าวหาญ แส้ไฟของก็อธม็อกทำให้เฟอานอร์ได้รับบาดเจ็บสาหัสจนสิ้นพระชนม์ และยังสังหารฟิงกอนจอมกษัตริย์ในสงครามมหาวิปโยค ภายหลังถูกเอคเธลิออนสังหารในการศึกคราวสิ้นนครกอนโดลิน จักรวรรดิไบแซนไทน์เจริญถึงขีดสุดในรัชสมัยจักรพรรดิจัสติเนียน (Justinian) … Continue reading

Posted in Joker | Tagged , | Comments Off on ฟาโรห์ตุตันคาเมน

เนเฟอร์ติติ

เทพธิดาอีออส เป็นชื่อในตำนานเทพปกรณัมโรมัน ผู้เป็นซึ่งเทพีแห่งรุ่งอรุณอันเก่าแก่ของตำนานปกรณัมกรีก หรือเรียกว่า “ออโรร่า” คำว่าออโรร่าในภาษาละตินมีความหมายว่า รุ่งอรุณ ซึ่งเทพธิดาอีออส หรือ เทพีออโรร่าจะมาปรากฏตัวใหม่ทุกๆวันในยามเช้า มักเป็นช่วงเวลารุ่งสาง โบยบินข้ามท้องฟ้าเพื่อเป็นการประกาศการมาของยามเช้า เธอเป็นเทพีที่ใกล้ชิดกับเทพอพอลโลมากที่สุด หน้าที่ที่เธอทำเป็นประจำนั่นคือ เปิดประตูให้ราชรถทองคำของอพอลโลในยามเช้าและไขแสงเงินแสงทองเพื่อเป็นสัญญาณเบิกทาง ตามตำนานว่ากันว่าแสงสีชมพูที่เกิดขึ้นบนท้องฟ้าเมื่อฟ้าเริ่มสางนั้นคือนิ้วของอีออส และแสงสีทองในยามเช้าคือเส้นผมของอีออสนั่นเอง ครอบครัวของเทพีอีออส เทพีอีออสนั้นเป็นลูกของเธอิอาและไฮเปอร์ริออน ซึ่งเป็นไททันเทพเจ้ารุ่นดึกดำบรรพ์ เทพีอีออสมีพี่น้องอยู่สองคน คนแรกชื่อเฮลิออส เป็นเทพแห่งสุริยันหรือดวงอาทิตย์และคนที่สองชื่อเซเลเน่เป็นเทพธิดาจันทรา ทั้งสามพี่น้องจะมีเทียมรถม้าเป็นยานพาหนะในการเดินทาไปยังที่ต่างๆ และเทพีอีออสก็ยังมีพระสวามีอยู่หลายองค์เช่นกันไม่ว่าจะเป็นไทโธนอสเจ้าชายแห่งกรุงทอย โอรสของท้าวเลือมมิดอนแห่งกรุงทอย และเซฟฟลัสโอรสของเจ้าผู้ครองแคว้นเธสสะลี ลูกของเทพีอีออส 4 องค์ จะไปประจำอยู่ ณ ทิศสี่ทิศ ได้แก่ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออกและทิศตะวันตก136199 เอริส (Eris) หรือ … Continue reading

Posted in Joker | Tagged , | Comments Off on เนเฟอร์ติติ

อาเทน

ฮีบี (อังกฤษ: Hebe /ˈhibi/; กรีก: Ήβη) เป็นเทพีในตำนานเทพเจ้ากรีกที่เทียบเท่ากับจูเวนทัสในตำนานเทพเจ้าโรมัน เทพีฮีบีเป็นเทพีแห่งความเยาว์วัยผู้เป็นบุตรีของเทพซูสและเทพีฮีรา ผู้มีตำแหน่งเป็นผู้ถวายพระสุทธารส (cupbearer) สำหรับเทพและเทพีแห่งยอดเขาโอลิมปัส คู่กับแกนีมีด จนกระทั่งแต่งงานกับเฮราคลีสประมวลเรื่องปรัมปรากรีก (กรีกโบราณ: ΜΥΘΟΛΟΓΊΑ ΕΛΛΗΝΙΚΉ) เป็นประมวลเรื่องปรัมปราของอารยธรรมกรีกโบราณ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับนิทานปรัมปราและตำนานที่เกี่ยวข้องกับเทพเจ้า, วีรบุรุษ, ธรรมชาติของโลก รวมถึงจุดกำเนิดและความสำคัญของขนบ คติและจารีตพิธีในทางศาสนาของชาวกรีกโบราณ ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาในกรีซโบราณ นักวิชาการสมัยใหม่มักอ้างถึงและศึกษาเรื่องปรัมปราเหล่านี้ เพื่อที่จะทราบเกี่ยวกับสถาบันทางศาสนา, สถาบันทางการเมืองในกรีซโบราณ, อารยธรรมของชาวกรีก และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในธรรมชาติของการสร้างตำนานประมวลเรื่องปรัมปราขึ้น ประมวลเรื่องปรัมปรากรีกรวบรวมขึ้นจากเรื่องเล่าและศิลปะที่แสดงออกในวัฒนธรรมกรีก เช่น การระบายสีแจกันและของแก้บน ตำนานกรีกอธิบายถึงการถือกำเนิดของโลก และรายละเอียดของเรื่องราวในชีวิต และการผจญภัยของบรรดาเทพเจ้า เทพธิดา วีรบุรุษ วีรสตรี และสิ่งมีชีวิตในตำนานอื่น ๆ ซึ่งเรื่องราวเหล่านี้ในตอนแรกเป็นเพียงการสืบทอดผ่านบทกวีตามประเพณีมุขปาฐะเท่านั้น … Continue reading

Posted in Joker | Tagged , | Comments Off on อาเทน

รา (เทพ)

ในเทพปกรณัมกรีก เพอร์เซโฟเน่ (อังกฤษ: Persephone /pərˈsɛfəniː/; กรีก: Περσεφόνη) หรือเรียก คอรี (อังกฤษ: Kore /ˈkɔəriː/; “หญิงโสด”) เป็นพระธิดาของซูส และเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว ดีมิเทอร์ และราชินีแห่งโลกหลังความตาย โฮเมอร์อธิบายว่าพระองค์เป็นราชินีแห่งโลกหลังความตายผู้น่าเกรงขามและน่าเคารพนับถือ ผู้บันดาลให้คำสาปของมนุษย์บังเกิดผลต่อวิญญาณของผู้วายชนม์ เพอร์เซฟะนีถูกเฮดีส ราชาแห่งโลกบาดาล ลักพาตัว ตำนานการลักพาของพระองค์เป็นการแสดงว่าหน้าที่ของพระองค์เป็นบุคคลวัตของพืชพรรณซึ่งงอกในฤดูใบไม้ผลิและถอนคืนสู่พิภพหลังเก็บเกี่ยว ฉะนั้นพระองค์จึงยังสัมพันธ์กับฤดูใบไม้ผลิและความอุดมสมบูรณ์ของพืชพรรณในศาสนาและตำนานกรีกโบราณ ดิมีเทอร์ (อังกฤษ: Demeter, /dɨˈmiːtɚ/; Gay) เป็นเทพเจ้าแห่งการเก็บเกี่ยว ผู้ดูแลธัญพืชและความอุดมสมบูรณ์ของปฐพี ชื่อลัทธิบูชาของพระนางรวมถึงซิโต (Σιτώ) “สตรีแห่งธัญพืช” ในฐานะผู้ประทานอาหารหรือธัญพืช และเธสมอฟอรอส (θεσμός “thesmos”: ระเบียบสวรรค์, กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร; … Continue reading

Posted in Joker | Tagged , | Comments Off on รา (เทพ)

พระอาทิตย์

คิวปิดและไซคี (อังกฤษ: Cupid and Psyche) เป็นเรื่องจากนวนิยายละติน Metamorphoses หรืออีกชื่อหนึ่งว่า The Golden Ass เขียนขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 2 โดย แอพยูเลียส เนื้อหาว่าด้วยการเอาชนะอุปสรรคต่อความรักระหว่างไซคี (กรีก: Ψυχή, “วิญญาณ” หรือ “ลมหายใจแห่งชีวิต”) และคิวปิด (ละติน: Cupido, “ความปรารถนา”) หรืออมอร์ (“ความรัก”, ตรงกับอีรอสของกรีก) และอยู่กินร่วมกันหลังสมรสในที่สุด แม้เรื่องเล่าโดยละเอียดของแอพยูเลียสจะเป็นชิ้นเดียวที่เหลือรอดจากยุคโบราณก็ตาม แต่อีรอสและไซคีปรากฏในศิลปะกรีกตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล องค์ประกอบทางลัทธิเพลได้ใหม่ของเนื้อเรื่องและการอ้างอิงถึงศาสนามิสเตอรีส์นำไปสู่การตีความอันหลากหลาย และถูกวิเคราะห์ว่าเป็นอุปมานิทัศน์ในรูปของนิทานพื้นบ้าน เทพนิยาย และตำนาน ตั้งแต่นวนิยายของแอพยูเลียสถูกค้นพบอีกครั้งในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เรื่องราวของคิวปิดและไซคี ถูกเล่าใหม่ในรูปแบบของกวีนิพนธ์ … Continue reading

Posted in Joker | Tagged , | Comments Off on พระอาทิตย์